![]() |
การมีส่วนร่วมของสถานประกอบการกับการกำหนดแนวทางการยกระดับขีดความสามารถฝีมือ แรงงานอุตสาหกรรมเครื่องเรือนของประเทศไทย : รายงานการวิจัย |
---|---|
รหัสดีโอไอ | |
Title | การมีส่วนร่วมของสถานประกอบการกับการกำหนดแนวทางการยกระดับขีดความสามารถฝีมือ แรงงานอุตสาหกรรมเครื่องเรือนของประเทศไทย : รายงานการวิจัย |
Creator | ดิเรก กาญจนรูจี |
Contributor | วิภาพร มาพบสุข, , สมบูรณ์ สุวรรณาภิชาติ |
Publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ |
Publication Year | 2556 |
Keyword | อุตสาหกรรมเครื่องเรือน, แรงงาน, สถานประกอบการ |
Abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะปัญญา และปัจจัยที่มีผลกระทบต่อขีดความสามารถของแรงงานฝีมือฝ้ายผลิตในอุตสาหกรรมเครื่องเรือนของประเทศไทย 2) เพื่อสำรวจความต้องการของสถานประกอบการด้านการพัฒนาช็ดความสามารถของแรงงานฝีมือผลิต ว่า ต้องการฝึกอบรมเรื่องใด เพียงใด เมื่อไร ฯลฯ 3) การพัฒนาความรู้ และทักษะฝีมือแก่แรงงานทั่วไปโดยการมีส่วนร่วมของสถานประกอบการในการกำหนดปัญญา จุดอ่อนของการผลิต ร่วมกำหนดรูปแบบการพัฒนาทักษะฝีมือ และความรู้แก่แก่แรงงานทั่วไปให้มีศักขภาพสูงขึ้นประชากรเป็น สถาน ประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องเรือนแห่งประเทศไทย รวม 67 แห่ง แรงงานในฝ่ายผลิต ได้แก่ ผู้จัดการ โรงงาน หัวหน้า ผู้ควบคุมงาน แรงงานฝีมือ และนักออกแบบผลิตภัณฑ์ รวม 1,434 คน และแรงงานทั่วไปจำนวน 40 คน ที่เข้าร่วมพัฒนาความรู้และทักษะ เครื่องเรือนที่ใช้ในการวิจัยครั้ง นี้ ได้แก่ 1) แบบสอบถามเพื่อใช้สัมภายณ์เชิงลึกเจ้าของสถานประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องเรือนไม้ 2) แบบสอบถามเพื่อใช้สัมภาษณ์เชิงลึกแรงงานฝ้ายผลิตในอุตสาหกรรมเครื่องเรือนไม้ 3) แบบสอบถามประเมินความรู้ และทักษะฝีมือแรงงานทั่วไป และ 4) โครงการฝึกอบรมความรู้และ ทักษะฝีมือแรงงาน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบ ที่ผลการวิจัย พบว่า 1.ค่าเฉลี่ยความรุนแรงของปัญญาที่กระทบต่อขีดความสามารถในการผลิตของแรงงาน ฝีมือระดับประเทศอยู่ที่ระดับปานกลาง x̄ = 2.04) แรงงานได้รับผลกระทบ จากปัญหาด้านความสามารถส่วนบุคคลมากที่สุด ( x̄ = 2.08) รองลงมาได้แก่ ปัญหาด้านเทคโนโลยีการผลิต ( x̄ = 2.06) ปัญหาด้านเวลา ( x̄ 2.06) ปัญหาการบริหารงานของสถานประกอบการ ( x̄ = 2.02) และปัญหาด้านการฝึกอบรม ( x̄ 1.99) 2.ปัญหาด้านความสามารถส่วนบุคคลที่มีผลกระทบต่อขีดความสามารถในการผลิตของแรงงาน ประกอบด้วยปัญหาการขาดความรู้เฉพาะงาน ( x̄ = 2.12) ปัญหาความ่กระตือรือร้น ในการทำงาน (x̄ = 2.08) ปัญหาความไม่เข้าใจรายละเอียดของงาน และขาดประสบการณ์ (x̄ = 2.07) และปัญหาการไม่มีส่วนร่วมในการคิดวิเคราะห์งานด้วยตนเอง (x̄ = 2.03) 3. แรงงานทุกภูมิภาคได้รับผลกระทบจากปัญหาลักษณะโดยรวมโดยเฉพาะแรงงานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้รับผลกระทบจากปัญหา โดยรวมมากที่สุด (x̄ = 2.32) รองลงมาได้แก่ กรุงเทพฯ และปริมณฑล(X = 2.07) ภาคกลาง (x̄ = 2,01) ภาคเหนือ (x̄ = 1.75) และภาคใต้ (x̄ = 1.66) 4.สถานประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องเรือนต้องการขกระดับขีดความสามารถของแรงงานในระดับมาก ได้แก่ ช่วยออกแบบ ช่างเทคนิค และแรงงานฝีมือ 5.สถานประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องเรือนต้องการมีส่วนร่วมกับราชการในการจัดฝึกอบรมความรู้ และทักษะฝีมือแก่แรงงงานในระดับปานกลาง (x̄ = 2.43) และต้องการให้แรงงานเข้าฝึกอบรมความรู้และทักษะเรื่องความรู้และทักษะขั้นสูง ในการทำสี เคลือบเงาเครื่องเรือน มากที่สุด (x̄ = 2.66) 6.แรงงานต้องการมีส่วนร่วมกับราชการในการเข้าฝึกอบรมความรู้ และทักษะฝึกมือ โดยรวมในระดับมาก และต้องการเข้าฝึกอบรมเรื่องความรู้ และทักษะชั้นสูง ในการทำสีเคลือบเงา เครื่องเรือน มากที่สุด (x̄ = 2.66) 7.สถานประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องเรือนต้องการให้จัดฝึกอบรมแก่แรงงงานนอกสถาน ประกอบการ ร้อยละ 59.2 และต้องการให้จัดฝึกอบรมแรงงานจำนวน 2 วัน ร้อยละ 53.7 8.แรงงานต้องการเข้าฝึกอบรมความรู้และทักษะฝีมือในสถานประกอบการของตนเอง ร้อย ละ 70.3 และต้องการให้จัดฝืดอบรม จำนวน 2 วัน ร้อยละ 62.0 9.ค่าเฉลี่ยความรู้และทักษะฝีมือที่แรงงงงานทั่วไปทดสอบตนเองหลังการทดดลองสูงกว่า ก่อนการทคลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติติที่ระดับ.05(x̄ =.62.1เละ x̄ =.85,t=2.34,p= .02) 10.แรงงานทั่วไปที่เข้าโครงการพัฒนาความรู้และทักษะฝีมือมีความรู้และทักษะชั้นสูงด้าน การทำสีเคลือบเงาเครื่องเรือนดีขึ้นทุกรายข้ออย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยค่าเฉลี่ยความถูกต้องและทักษะโดยรวมและรายข้อหลังการทดลองมีความถูกต้องมากกว่า ร้อยละ 80 |
Language | TH |
URL Website | https://dspace.rmutk.ac.th |
Website title | คลังความรู้ UTK |