ISBN คือ เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ หนังสือ 1 เล่ม จะมีเลข ISBN เลขเดียวเท่านั้น
ISSN คือ เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร วารสาร 1 เล่ม จะมีเลข ISSN เลขเดียวเท่านั้น สำหรับ
DOI คือ เลขมาตรฐานสากลประจำไฟล์ดิจิทัล สำหรับเอกสารดิจิทัลประเภทงานวิจัย วิทยานิพนธ์ และบทความวารสาร โดยจะออก DOI 1 รหัส ต่อ งานวิจัย/วิทยานิพนธ์ 1 เล่ม
สำหรับวารสารออนไลน์ จะออกรหัส DOI ให้กับรายบทความ 1 รหัส ต่อ 1 บทความ โดยไม่ออกรหัส DOI ให้กับตัวเล่มวารสาร เหมือน ISSN
การขอรหัส DOI สามารถขอได้ครั้งละกี่รายการ
ไม่จำกัดจำนวน ควรทยอยส่งข้อมูลเข้ามาเป็นชุด เมื่อข้อมูลชุดแรกได้รับรหัส DOI ครบเรียบร้อย จึงส่งข้อมูลชุดใหม่เข้ามา
DOI จะช่วยป้องกัน และแก้ปัญหาการนำข้อมูลวิจัยคนอื่นมาใช้โดยไม่ขออนุญาต (Plagiarism) ได้อย่างไร
การนำข้อมูลวิจัยไปใช้ ไม่ขออนุญาต แต่มีการอ้างอิง เขียนแจ้งว่าเจ้าของข้อมูลคือใครตามระบบ
การอ้างอิง อาจไม่ต้องขออนุญาตเจ้าของ ถ้าเจ้าของเผยแพร่ข้อมูลอยู่ แต่การคัดลอกทั้งหมด
การคัดลอกงานวิชาการและวรรณกรรม (Plagiarism) การมี DOI เช่น บทความวารสารที่มี DOI
สามารถ Run DOI Resolve ได้ว่ามีการซ้ำซ้อนหรือไม่ แต่ DOI ไม่ช่วยป้องกันเหมือน Plagiarism
ที่ใช้ซอฟต์แวร์ เช่น Turn it in เทียบว่าเหมือนกี่เปอร์เซ็นต์ DOI แต่ช่วยเสริมสร้างให้การอ้างอิง การใช้ประโยชน์ของผู้อื่นง่ายขึ้นกว่าเดิม
นักวิจัยแบบสหสาขาหรือต่างสถาบัน รวมเล่มเดียวกัน ชื่องานวิจัยเดียวกัน นักวิจัยต่างคนต่างขอรหัส DOI ได้หรือไม่
นักวิจัยแบบสหสาขาหรือต่างสถาบัน รวมเล่มเดียวกัน ชื่องานวิจัยเดียวกัน ซึ่งการกรอกข้อมูลในส่วน
ผู้แต่งสามารถใส่ชื่อผู้แต่งร่วมได้ทุกคน กรณีนักวิจัยท่านแรกขอเข้ามาก่อน จะได้รับ 1 รหัส DOI
หากมีผู้ขอรับรหัส DOI ซ้ำ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบว่าข้อมูลซ้ำ จะแจ้งให้ผู้ขอรับรหัส DOI ทราบว่า
เอกสารดิจิทัลได้รับรหัส DOI แล้ว โดยจะไม่ออกรหัส DOI ซ้ำอีก
ขั้นตอนในการขอรหัส DOI ของวารสาร ใช้ระยะเวลานานเท่าไร