COLESEVELAM สำหรับใช้ในการรักษาโรคเบาหวานชนิดที่ 2 COLESEVELAM FOR THE TREATMENT OF TYPE 2 DIABETES MELLITUS
รหัสดีโอไอ
Creator กมลนันท์ โฆษิตชัยมงคล, ขนิษฐา ฉัตรวิเชียร และ นันทลักษณ์ สถาพรนานนท์
Title COLESEVELAM สำหรับใช้ในการรักษาโรคเบาหวานชนิดที่ 2 COLESEVELAM FOR THE TREATMENT OF TYPE 2 DIABETES MELLITUS
Publisher คณะเภสัชศาสตร์/โรงพิมพ์ ม.ศิลปากร
Publication Year 2557
Journal Title ไทยไภษัชยนิพนธ์ Thai Bulletin of Pharmaceutical Science (TBPS)
Journal Vol. 9
Journal No. 1 (Jan-June 2014 )
Page no. 92-109
Keyword colesevelam,ยาช่วยขจัดกรดน้ำดี,ยารักษาเบาหวาน,โรคเบาหวานชนิดที่ 2 colesevelam, bile acid sequestrants, type 2 diabetes mellitus,T2DM
ISSN 1686-9540
Abstract Colesevelam เป็นยาในกลุ่มยาช่วยขจัดกรดน้ำดีเช่นเดียวกับยา colestyramine แต่จัดเป็นรุ่นที่ 2 (second generation bile acid sequestrants) ซึ่งใน ค.ศ. 2000 องค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา ได้รับรองให้ใช้ในการรักษาภาวะไขมันในเลือดสูง และต่อมาใน คศ. 2012 สมาคมโรคเบาหวานแห่งสหรัฐอเมริกาได้จัดให้ colesevelam เป็นยาหนึ่งที่ใช้ในการรักษาโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ซึ่งกลไกการออกฤทธิ์ของ colesevelam ในการลดระดับน้ำตาลในเลือดยังไม่เป็นที่แน่ชัด แต่คาดว่ากลไกการออกฤทธิ์เกี่ยวข้องกับ nuclear receptor ต่าง ๆ ได้แก่ FXR receptor, G-protein receptor และเกี่ยวข้องกับบทบาทของกรดน้ำดีในการสร้างและสลาย glycogen จากการศึกษาต่าง ๆ พบว่าเมื่อใช้ colesevelam ร่วมกับยาลดระดับน้ำตาลในเลือดตัวอื่น ๆ ในการรักษาโรคเบาหวานจะสามารถลดระดับ HbA1C ลงได้ (0.5%) Abstract Colesevelam is a bile acid sequestrant, the same group as colestyramine but it is in the second generation. The U.S. Food and Drug Administration approved colesevelam for the treatment of dyslipidemia in 2000. Later, in 2012, the American Diabetes Association classified it as a medication for type 2 diabetes (T2DM). The mechanism of action for lowering blood sugar is still unknown. However, this might be related to various nuclear receptors, such as FXR receptor, and G-protein receptor. This is also related to the role of bile acid in the formation and breakdown of glycogen. Many studies found that colesevelam as adjunct to other medications to treat T2DM patients can reduce HbA1C levels (0.5%).
วารสารไทยไภษัชยนิพนธ์ Thai Bulletin of Pharmaceuti

บรรณานุกรม

EndNote

APA

Chicago

MLA

DOI Smart-Search
สวัสดีค่ะ ยินดีให้บริการสอบถาม และสืบค้นข้อมูลตัวระบุวัตถุดิจิทัล (ดีโอไอ) สำนักการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ค่ะ