โพรโทซัวดินในพื้นที่ป่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์
รหัสดีโอไอ
Creator ขัตติยา มูลไชยสุข
Title โพรโทซัวดินในพื้นที่ป่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์
Contributor จุณจะรา ทุยไธสง
Publisher คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Publication Year 2567
Journal Title วารสารวิทยาศาสตร์ คชสาส์น
Journal Vol. 46
Journal No. 1
Page no. 20-26
Keyword โพรโทซัวดิน, ระบบนิเวศป่า, ความหลากหลาย, ป่า, สำรวจ
URL Website https://li01.tci-thaijo.org/index.php/kochasarn
Website title วารสารวิทยาศาสตร์ คชสาส์น
ISSN ISSN 3027-7299 (Print);ISSN 2985-0835 (Online)
Abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสำรวจชนิดและการแพร่กระจายของโพรโทซัวดินในพื้นที่ป่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ระหว่างเดือนมีนาคม-พฤษภาคม 2565 และเดือน มิถุนายน-สิงหาคม 2565 พบโพรโทซัวดินรวมทั้งหมด 13 ชั้น (Class) 28 ชนิด โพรโทซัวดินที่พบอยู่ใน Class Tubulinea มากที่สุด โดยพบ 10 ชนิด คิดเป็น 35.71 % ของจำนวนชนิดทั้งหมด เมื่อวิเคราะห์ความถี่ในการพบโพรโทซัวดิน พบว่าสามารถแบ่งกลุ่มโพรโทซัวดินได้ 4 กลุ่ม คือโพรโทซัวดินที่พบได้บ่อยมาก (90-100% ของจำนวนจุดเก็บตัวอย่างทั้งหมด) มี 4 ชนิด  โพรโทซัวดินที่พบบ่อย (65-89%) มี 6 ชนิด โพรโทซัวดินที่พบปานกลาง (31-64% ) มี 4 ชนิด และโพรโทซัวดินที่พบได้น้อย (10-30%) มี 14 ชนิด และโพรโทซัวดินที่มีการแพร่กระจายมากที่สุด โดยพบทุกจุดเก็บตัวอย่าง ได้แก่ Colpoda cucullus, Vorticella campanula, Arcella vulgaris และ Amoeba radiosa
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บรรณานุกรม

EndNote

APA

Chicago

MLA

DOI Smart-Search
สวัสดีค่ะ ยินดีให้บริการสอบถาม และสืบค้นข้อมูลตัวระบุวัตถุดิจิทัล (ดีโอไอ) สำนักการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ค่ะ