การให้ค่าน้ำหนักตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองเดินได้โดยประยุกต์ใช้กระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้น (Analytical Hierarchy Process : AHP)
รหัสดีโอไอ
Creator ศุภการย์ พอสอน
Title การให้ค่าน้ำหนักตัวชี้วัดการพัฒนาเมืองเดินได้โดยประยุกต์ใช้กระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้น (Analytical Hierarchy Process : AHP)
Contributor มนสิชา เพชรานนท์
Publisher คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
Publication Year 2566
Journal Title วารสาร สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย (Built Environment Inquiry BEI)
Journal Vol. 22
Journal No. 1
Page no. 93-109
Keyword กระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้น, ตัวชี้วัดความเป็นเมืองเดินได้ของเมืองขอนแก่น
URL Website https://www.tci-thaijo.org/index.php/arch-kku
Website title Built Environment Inquiry Journal Faculty of Architecture Khon Kaen University, Thailand
ISSN 2651-1185
Abstract บทความในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการพิจารณาให้ค่าน้ำหนักความสำคัญตัวชี้วัดความเป็นเมืองเดินได้ของเมืองขอนแก่น (Walkable City) จาก 6 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) ระบบกิจกรรมในพื้นที่ของเมือง 2) สภาพแวดล้อมทางกายภาพของถนนและทางเดินเท้า 3) คุณภาพและประสิทธิภาพของระบบขนส่งสาธารณะ 4) ปฏิกิริยาของผู้คนต่อสภาพแวดล้อมของเมือง 5) คุณภาพของงานออกแบบชุมชนเมือง 6) สังคมและเศรษฐกิจระดับตัวบุคคลหรือครัวเรือน และมีองค์ประกอบรองรวมทั้งหมด 28 องค์ประกอบรองโดยใช้วิธีการตัดสินแบบหลายหลักเกณฑ์ (Multiple Criteria Decision Marking) ด้วยกระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้น (Analytical Hierarchy Process : AHP) ซึ่งจะทำการสอบถามความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิที่มีส่วนกับการพัฒนาเมืองจำนวน 10 คน ผลจากการศึกษา พบว่าองค์ประกอบหลักที่ส่งผลและมีอิทธิพลต่อความเดินได้ของเมือง 3 อันดับแรกคือ 1) ระบบกิจกรรมในพื้นที่ของเมือง 2) คุณลักษณะของสภาพแวดล้อมทางกายภาพของถนนและทางเดินเท้า และ 3) ด้านคุณภาพ / ประสิทธิภาพของระบบขนส่งสาธารณะ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

บรรณานุกรม

EndNote

APA

Chicago

MLA

DOI Smart-Search
สวัสดีค่ะ ยินดีให้บริการสอบถาม และสืบค้นข้อมูลตัวระบุวัตถุดิจิทัล (ดีโอไอ) สำนักการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ค่ะ