การตัดสินใจเลือกผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของประชาชนในบ้านโคกสะอาดตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์
รหัสดีโอไอ
Creator จิรันทร ทองนรินทร์
Title การตัดสินใจเลือกผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของประชาชนในบ้านโคกสะอาดตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์
Publisher สถาบันวิชาการเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
Publication Year 2566
Journal Title Administrative Journal for Local Development
Journal Vol. 2
Journal No. 1
Page no. 25-36
Keyword การตัดสินใจ, ผู้บริหาร, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
URL Website https://so19.tci-thaijo.org/index.php/j_asc
Website title Administrative Journal for Local Development
ISSN ISSN 3057-059X (Online)
Abstract การศึกษาวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์หลัก 3 ประการ คือ 1. เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองและการตัดสินใจเลือกผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของประชาชนในบ้านโคกสะอาด ตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ 2. เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของประชาชนในบ้านโคกสะอาดตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ 3. เพื่อศึกษาอิทธิพลของการมีส่วนร่วมทางการเมืองที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของประชาชนในบ้านโคกสะอาดตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ มีประชากรทั้งหมด จำนวน 301 ครัวเรือน โดยแบ่งเป็น 6 คุ้ม ประกอบด้วย 1) คุ้มโชคนำพา 67 คน 2) คุ้มพัฒนารักษาศีล 56 คน 3) คุ้มก้องเกียรติพูนทรัพย์ 46 คน 4) คุ้มสุขเลิศประเสริฐศรี 34 คน 5) คุ้มบุญมีทวีสุข 62 คน 6) คุ้มทรัพย์สมบูรณ์พูนสุข 36 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างจากสูตรของทาโรยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่างรวมทั้งหมด 172 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลลักษณะของแบบสอบถามเป็นทั้งปลายเปิด และปลายปิดมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเชิงปริมาณเท่ากับ ค่าความเชื่อมั่นที่ 95% ที่นัยสำคัญ 0.05 ทดสอบสมมติฐาน โดยการทดสอบค่าที (+) ค่าเอฟ (! วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ในกรณีที่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จะทำการวิเคราะห์ความแตกต่างด้วยวิธีผลนัยสำคัญน้อยที่สุด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (x และค่าเบียงเบนมาตรฐาน (S.D.) พบว่า 1.ระดับการตัดสินใจเลือกผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของประชาชนในบ้านโคกสะอาด ตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์โดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ระดับการตัดสินใจลงคะแนนเสียงทั้ง 5 ด้าน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากทุกด้าน2. ผลการเปรียบเทียบระดับการตัดสินใจเลือกผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของประชาชนในบ้านโคกสะอาด ตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ ตามประเภท 6 ด้านการตัดสินใจเลือกผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของประชาชนในบ้านโคกสะอาด ตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ โดยจำแนกตามสถานภาพบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษารายได้เฉลี่ยต่อเดือน อาชีพ สถานภาพ พบว่าคนในชุมชนที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษารายได้เฉลี่ยต่อเดือน อาชีพ สถานภาพ แตกต่างกันมีระดับการตัดสินใจเลือกผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของประชาชนในบ้านโคกสะอาด ตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ โดยภาพรวม แตกต่างกัน มีระดับการตัดสินใจเลือกผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของประชาชนในบ้านโคกสะอาด ตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทโดยภาพรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญสถิติที่ระดับ 0.05 จึงยอมรับสมมุติฐานที่ตั้งไว้3. การตัดสินใจเลือกผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของประชาชนในบ้านโคกสะอาดตำบลจอมพระ อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ พบว่า ด้านคุณสมบัติส่วนตัวของผู้สมัคร มีแนวโน้มที่ประชาชนในชุมชนให้ความสนใจมากที่สุด เพราะเป็นตัวกำหนดในการตัดสินใจที่จะลงคะแนนเสียงให้กับผู้บริหารในการเลือกตั้งแต่ครั้ง เพื่อให้ตัดสินใจได้ง่ายที่สุด แล้วให้ตรงกับความต้องการของตนเองมากที่สุดเครื่องมือในการวิจัย คือ 1) แผนการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อประกอบการสอน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อประกอบการสอน การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ใช้ค่าเฉลี่ย (x ̅) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) ทดสอบค่า t-testจากการศึกษาค้นคว้าและวิเคราะห์ ข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 35 คน สามารถสรุปผลได้ดังนี้ 1. เพื่อเปรียบเทียบการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องทวีปอเมริกาเหนือ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนเรียนและหลังเรียน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประกอบการสอน (มีคะแนนเฉลี่ยคะแนนทดสอบก่อนเรียนเท่ากับ 16.64 และคะแนนเฉลี่ยทดสอบหลังเรียนเท่ากับ 17.42 และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างคะแนนก่อนและหลังเรียน พบว่า คะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญ แสดงว่า การที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประกอบการสอน ทำให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น) 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่มีต่อสื่อประกอบการสอน เรื่องทวีปอเมริกาเหนือ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (โดยภาพรวม นักเรียนมีความพึงพอใจต่อสื่อ อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาจากค่าเฉลี่ยรายข้อ คือ ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ นักเรียนมีความพึงพอใจต่อสื่อ อยู่ในระดับมาก รองลงมา จากการเรียนรู้จากสื่อทำให้นักเรียนมีการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมากขึ้น อยู่ในระดับมาก และข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ น่าสนใจ และสร้างการร่วมเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก)
สถาบันวิชาการเพื่อพัฒนาท้องถิ่น

บรรณานุกรม

EndNote

APA

Chicago

MLA

DOI Smart-Search
สวัสดีค่ะ ยินดีให้บริการสอบถาม และสืบค้นข้อมูลตัวระบุวัตถุดิจิทัล (ดีโอไอ) สำนักการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ค่ะ