การทดสอบภายหลังการวิเคราะห์ความแปรปรวน
รหัสดีโอไอ
Creator อุทัยวรรณ สายพัฒนะ
Title การทดสอบภายหลังการวิเคราะห์ความแปรปรวน
Publisher มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
Publication Year 2567
Journal Title วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
Journal Vol. 13
Journal No. 2
Page no. 19-31
Keyword การเปรียบเทียบเป็นรายคู่, วิธี LSD, วิธี Tukey-Kramer, วิธี Scheffe’
URL Website https://so01.tci-thaijo.org/index.php/NBU
ISSN 2286-8860
Abstract บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อนำเสนอสาระเกี่ยวกับวิธีเปรียบเทียบรายคู่ หรือการเปรียบเทียบพหุคูณ (Multiple comparison) สำหรับงานวิจัยที่มีการศึกษาประชากรมกกว่า 2 กลุ่ม บางครั้งก็เรียกว่า Post hoc comparisons เพราะเป็นการตรวจสอบหลังจากการวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA: Analysis of variance) ด้วยสถิติทดสอบ F หรือ F-test แล้วพบว่า ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างโดยรวม (Omnibus test) มีความแตกต่างกัน จึงต้องทำการตรวจสอบว่า ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างคู่ใดบ้างที่แตกต่างกัน ซึ่งวิธีการตรวจสอบโดยการเปรียบเทียบเป็นรายคู่มีหลายวิธี แต่ละวิธีมีข้อตกลง มีวัตถุประสงค์และคุณลักษณะเฉพาะในการเปรียบเทียบแตกต่างกันออกไป ทั้งนี้ผู้วิจัยควรพิจารณาเลือกใช้วิธีการเปรียบเทียบให้สอดคล้องและเหมาะสมกับลักษณะของข้อมูลและลักษณะของกลุ่มตัวอย่าง เพื่อให้ได้ผลของการตรวจสอบสมมติฐานที่มีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด และตอบปัญหาการวิจัยได้ชัดเจนมากที่สุด ในที่นี้ผู้เขียนนำเสนอวิธีการเปรียบเทียบพหุคูณที่นักวิจัยส่วนใหญ่นิยมนำมาใช้ในการตรวจสอบความแตกต่าง 3 วิธี คือ วิธี LSD วิธีTukey-Kramer และวิธี Scheffe’ และยกตัวอย่างขั้นตอนวิธีการวิเคราะห์จากโปรแกรม SPSS ด้วยวิธี Scheffe’ และการนำเสนอการแปลผลการวิจัย
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ

บรรณานุกรม

EndNote

APA

Chicago

MLA

DOI Smart-Search
สวัสดีค่ะ ยินดีให้บริการสอบถาม และสืบค้นข้อมูลตัวระบุวัตถุดิจิทัล (ดีโอไอ) สำนักการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ค่ะ