![]() |
Determining the Appropriate Sample Size in EFL Pilot Studies |
---|---|
รหัสดีโอไอ | |
Creator | Patsawut Sukserm |
Title | Determining the Appropriate Sample Size in EFL Pilot Studies |
Publisher | ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Publication Year | 2567 |
Journal Title | วารสารวิธีวิทยาการวิจัย Journal of Research Methodology |
Journal Vol. | 37 |
Journal No. | 3 |
Page no. | 245-264 |
Keyword | Pilot Studies, Survey Research, EFL, Sample Size, Reliability, การศึกษานำร่อง, การวิจัยเชิงสำรวจ, ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ, ขนาดตัวอย่าง, ค่าความเที่ยง |
URL Website | https://so12.tci-thaijo.org/index.php/jrm/ |
Website title | วารสารวิธีวิทยาการวิจัย Journal of Research Methodology |
ISSN | ISSN online 2697-4835 |
Abstract | Pilot studies are fundamental in the field of English as a foreign language (EFL) as they provide opportunities to evaluate and improve the research design and instruments. This review summarizes key researchers’ suggestions for determining sample size in EFL pilot studies and offers instructions for conducting pilot studies in this context. For example, a range of 10 to 30 participants is suitable for pilot studies, while 30 participants are generally sufficient for a questionnaire. Additionally, about a dozen subjects in a group are sufficient when estimating distribution parameters. Guidelines for reliability are also formulated. This review therefore enhances EFL research by providing a practical understanding of sample size recommendations and their implications in EFL settings, thereby assisting researchers in designing effective EFL pilot studies. This will increase the credibility and relevance of EFL research and contribute to the development of more comprehensive and trustworthy studies in the future.การศึกษานำร่องมีความสำคัญในด้านภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศเพราะจะช่วยให้สามารถประเมินและปรับปรุงการออกแบบการวิจัยและเครื่องมือต่าง ๆ ได้ บทความปริทัศน์นี้ได้สรุปข้อเสนอแนะสำคัญเกี่ยวกับการกำหนดขนาดตัวอย่างในการศึกษานำร่องในงานวิจัยด้านภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศและแนะนำขั้นตอนการทำการศึกษานำร่องในบริบทการวิจัยด้านนี้ ยกตัวอย่างเช่น ตัวอย่างวิจัยขนาด10 ถึง 30 คนเหมาะสมกับการศึกษานำร่อง ในขณะที่ตัวอย่างวิจัยจำนวน 30 คนเพียงพอสำหรับการตอบแบบสอบถาม นอกจากนี้ตัวอย่างวิจัยประมาณ 12 คน ก็เพียงพอแล้วเมื่อประมาณค่าพารามิเตอร์การกระจาย นอกจากนี้ยังนำเสนอแนวทางสำหรับค่าความเที่ยงไว้ด้วย บทความปริทัศน์นี้จึงช่วยเพิ่มความเข้าใจในเชิงปฏิบัติเกี่ยวกับข้อเสนอแนะเรื่องขนาดตัวอย่างและผลที่ตามมาในบริบทการวิจัยด้านภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศซึ่งจะช่วยนักวิจัยให้การออกแบบการศึกษานำร่องด้านภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยแนวทางนี้จะเพิ่มความน่าเชื่อถือและความสอดคล้องของการวิจัยด้านภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ และยังช่วยส่งเสริมการพัฒนาการวิจัยที่ครอบคลุมและน่าเชื่อถือมากขึ้นในอนาคต |