![]() |
ทฤษฎีระบบราชการกับการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินในสมัยกรุงศรีอยุธยา |
---|---|
รหัสดีโอไอ | |
Creator | โกวิท วงศ์สุรวัฒน์ |
Title | ทฤษฎีระบบราชการกับการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินในสมัยกรุงศรีอยุธยา |
Publisher | สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ |
Publication Year | 2563 |
Journal Title | วารสารการบริหารปกครอง |
Journal Vol. | 9 |
Journal No. | 1 |
Page no. | 1-25 |
Keyword | ระบบราชการ, การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน, กรุงศรีอยุธยา |
URL Website | https://so01.tci-thaijo.org/index.php/gjournal-ksu |
Website title | วารสารการบริหารปกครอง มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ |
ISSN | ISSN 2697-4029 (Print) |
Abstract | ทฤษฎีระบบราชการของแมกซ์ เวเบอร์ และคนอื่น ๆ ที่เน้นถึงหลักสายการบังคับบัญชา ซึ่งหลักการนี้แมกซ์ เวเบอร์ เห็นว่าจำเป็นต้องมีเนื่องจากการบริหารองค์การขนาดใหญ่จำเป็นต้องจัดหมวดหมู่ของตำแหน่งต่าง ๆ เป็นลำดับชั้น “ข้าราชการในลำดับชั้นที่สูงทำหน้าที่เป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการที่อยู่ในลำดับชั้นที่ต่ำรองลงมา การจัดลำดับชั้นในระบบราชการเป็นไปเพื่อเป็นหลักประกันว่า เบื้องบนจะสามารถควบคุมเบื้องล่างได้อย่างใกล้ชิด” และคำกล่าวของเฮนรี่ ฟาโยล ที่กล่าวว่า “ไม่มีมนุษย์คนไหนที่สามารถปฏิบัติตามคำสั่งจากหัวหน้าสองคนขึ้นไป”แต่เมื่อศึกษาถึงการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินในสมัยกรุงศรีอยุธยาโดยเฉพาะตั้งแต่การปฏิรูประเบียบบริหารราชการของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถซึ่งใช้มาตลอดสมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ที่ขัดแย้งกับทฤษฎีระบบราชการของหลักรัฐประศาสนศาสตร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันในรูปของการมีนายกรัฐมนตรี 2 คน คือสมุหกลาโหมและสมุหนายกทำให้เกิดการสับสนขาดความชัดเจนในการบริหารราชการแผ่นดินอย่างเหลือหลายจนต้องมีการปฏิรูปการปกครองครั้งใหญ่สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินใหม่ใน พ.ศ. 2435 จึงสอดคล้องกับทฤษฎีระบบราชการของสากล |